วันอาทิตย์, สิงหาคม 14, 2022
  • Login
168HealthyCare
ADVERTISEMENT
  • หน้าแรก
  • COVID 19
  • เคล็ดลับสุขภาพดี
  • โรคและอาการของโรค
    • COVID19 โควิด19
  • อาหารและยา
  • ครอบครัว
  • ข่าวประกาศ
No Result
View All Result
  • หน้าแรก
  • COVID 19
  • เคล็ดลับสุขภาพดี
  • โรคและอาการของโรค
    • COVID19 โควิด19
  • อาหารและยา
  • ครอบครัว
  • ข่าวประกาศ
No Result
View All Result
HealthNews
No Result
View All Result

ผู้ป่วยโรคลมชัก ขับรถยนต์ได้หรือไม่

ผู้ป่วยโรคลมชัก ขับรถยนต์ได้หรือไม่
รักษาหลุมสิว
158
SHARES
ShareTweet

เนื่องจากว่าเป็นโรคที่ไม่สามารถกำหนดให้เกิดขึ้นเองได้

แถบจะเกิดขึ้นตอนไหนบ้างก็ไม่สามารถรู้ได้ ทางแพทย์จึงออกมาแนะนำว่าผู้ป่วยโรคลมชักนั้นไม่ควรที่จะขับรถยนต์ด้วยตัวเอง เนื่องจากมีความเสี่ยงเกิดอุบัติเหตุที่สูง ข้อมูลแสดงให้เห็นว่าในปี 2019 ผู้ป่วยลมชัก 90% ยังคงขับรถโดย 56% มีอาการชักโดยไม่รู้ตัวและเกือบ 60% ของผู้ที่ป่วยที่มีอาการชักในขนาดที่ขับขี่รถแบบนี้ยังคงขับรถต่อลมขัก

โรคลมชัก และอันตรายที่เกิดขึ้นขณะขับรถ

จากการศึกษาของมหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อปี 2559 มีการตรวจพบว่า 75% ของผู้ป่วยที่ยังขับรถด้วยตัวเอง 30% เคยเกิอุบัติเหตุเกี่ยวกับรถ และ 60% สาเหตุมาจากเกิดอาการลมชักขนาดขับขี่ ข้อมูลล่าสุดตอนนี้ ปี2562 พบว่า 90% นั้นยังคบขับรถอยู่และใน 90%นี้ มีอาการโรคลมชักขนาดขับรถมากถึง 56 % มีอาการชักแบบไม่รู้สติและ เกือบ 60% และ30% เกิดอาการชักในระหว่างขัยรถและยังขับรถต่อโดยที่ไม่รู้ตัว

อย่างไรก็ตามขณะนี้ในประเทศไทยอยู่ในระหว่างดำเนินการออกกฎหมายใบขับขี่กับผู้ป่วยโรคลมชักเพื่อความปลอดภัยสำหรับตัวผู้ป่วยและผู้อื่นที่ใช้รถบนท้องถนน ดังนั้นผู้ป่วยโรคลมชักไม่ควรขับรถยนต์อย่างน้อยกว่า 1 ปีเนื่องจากเสี่ยงเกิดอุบัติเหตุได้ตลอดเวลา

โรคลมชักอันตราย แต่สามารถควบคุมได้

โรคลมชักเป็นโรคทางระบบประสาทที่สามารถพบได้บ่อย ผลกระทบสามารถทำให้เกิดอุบัติเหตุได้ทั้งตัวคุณเองและผู้อื่นได้ แนวทางของผู้ป่วยโรคลมชักต้องระวังกิจกรรมที่อาจเป็นอันตรายในระหว่างการชัก เช่นการ ขับรถยนต์ การปีนสูง และว่ายน้ำเป็นต้น โรคลมชัก เกิดจากการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันของการทำงานของเซลล์สมอง เป็นโรคที่ต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่องและใช้เวลาที่ยาวนาน ในกรณีที่ผู้ป่วยต้องรับประทานยากันชักเป็นประจำอย่างสม่ำเสมอ เพื่อหยุดอาการชักและระวังการทำกิจกรรมที่อาจเป็นอันตรายต่อตนเองและผู้อื่นในขณะเกิดอาการชัก

สำหรับคำแนะนำเกี่ยวกับการปฐมพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการชักที่ถูกต้องและง่ายต่อการจดจำ คือ “ไม่งัด ไม่ง้าง ไม่ถ่าง ไม่กดให้ทั้งหมดนั้นหยุดชักเอง ผู้ป่วยโรคลมชักจะมีภาวะชักเกร็ง กระตุกไม่เกิน 2 นาที หากชักนานถึง 5 นาที ควรรีบนำส่งสถานพยาบาลที่ใกล้ที่สุดเท่าที่จะทำได้

158
SHARES
ShareTweet
Tags: โรคลมชัก
Next Post
กินเจ

เรื่องเข้าใจผิดที่มักเกิดขึ้นกับการ กินเจ

168HealthyCare

© Copyright 2018-2020 168HealthyCare.com All rights reserved.

Advertise & Partners

  • รับทำ SEO
  • เสริมหน้าอก
  • เช็ความเร็วเน็ต
  • จองทะเบียนรถ
  • Contact

Social Network

No Result
View All Result
  • หน้าแรก
  • COVID 19
  • เคล็ดลับสุขภาพดี
  • โรคและอาการของโรค
    • COVID19 โควิด19
  • อาหารและยา
  • ครอบครัว
  • ข่าวประกาศ

© Copyright 2018-2020 168HealthyCare.com All rights reserved.

Welcome Back!

Login to your account below

Forgotten Password?

Create New Account!

Fill the forms bellow to register

All fields are required. Log In

Retrieve your password

Please enter your username or email address to reset your password.

Log In