วันพุธ, มกราคม 20, 2021
  • Login
168HealthyCare
ADVERTISEMENT
  • หน้าแรก
  • COVID 19
  • เคล็ดลับสุขภาพดี
  • โรคและอาการของโรค
    • COVID19 โควิด19
  • อาหารและยา
  • ครอบครัว
  • ข่าวประกาศ
No Result
View All Result
  • หน้าแรก
  • COVID 19
  • เคล็ดลับสุขภาพดี
  • โรคและอาการของโรค
    • COVID19 โควิด19
  • อาหารและยา
  • ครอบครัว
  • ข่าวประกาศ
No Result
View All Result
HealthNews
No Result
View All Result

7 เทคนิคป้องกันสำหรับคนที่มีอาการ “อาหารไม่ย่อย”

ปวดท้อง
237
SHARES
ShareTweet

เรื่องอาหารไม่ย่อยเป็นเรื่องที่ปกติมากในยุตปัจจุบันนี้ ไม่ว่าสาเหตุจะมาจากการที่ทานอาหารที่มีไขมันสูง หรือว่าพฤติกรรมของเจ้าตัวเองที่ทานอาหารไม่ตรงเวลาจนทำให้ระบบในร่างกายนั้นทำงานผิดปกติก็ตามซึ่งอาการ “อาหารไม่ย่อย”นั้นสามารถที่จะเกิดในช่วงที่เรานั้นอยู่ในระหว่างการทานอาหารหรือหลังทานอาหารเสร็จเรียบร้อยแล้วก็ตาม “อาหารไม่ย่อย” สามารถที่จะเกิดขึ้นได้ทุกเพศทุกวัย ส่วนมากอาการเหล่านี้จะพบในผู้ใหญ่หรือผู้สูงอายุมากกว่าวัยอื่นๆลักษณะอาการอาหารไม่ย่อย จะรู้สึกไม่สบายในช่วงท้องตรงบริเวณยอดดอกหรืออยู่ใต้ลิ้นปี่ มีอาการแน่นท้อง จุกเสียด มีอาการแสบร้อนกลางอก หรือปวดท้อง เป็นอาการที่เกิดขึ้นเองและสามารถหายไปได้เองเช่นกัน วันนี้ทางเราจึงมีวิธีแนะนำ วิธีป้องกันอาหารไม่ย่อย มาฝากกันค่ะ

ปวดท้อง

1.งดทานอาหารที่มีไขมันสูง

อาหารที่มีไขมันสูงเหมาะสำหรับคนที่อาศัยอยู่ในทวีปที่มีความหนาวอยู่ตลอดเวลา เป็นวิธีที่จะทำให้ร่างกายนั้นอบอุ่นและสามารถดำรงชวิตอยู่ได้ในสภาพอาการที่หนาว แต่สำหรับบผู้คนที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่ทวีปร้อนอย่างเราแล้วนอกจากจะเป็นสิ่งที่ร่างกายนั้นไม่ต้องการแล้ว สำหรับผู้ที่มีอาการอาหารไม่ย่อยกวนใจอยู่ก็ควรที่จะเลี่ยงให้ได้มากที่สุด โดยเฉพาะ อาหารทอด อาหารสำดร็จรูปและอาหารรสจัด เพื่อเลี่ยงอาการกรดเกินในกระเพาะ

2.รับประทานอาหารให้ตรงเวลาในแต่ละมื้อ

ถึงแม้ว่าน้ำย่อยในกระเพาะจะปล่อยออกมาตลอดทั้งวัน แต่ร่างกายเองก็ต้องการเวลาที่แน่นอนเพื่อทำงานอย่างถูกต้องการที่เรานั้นทานอาหารผิดเวลานอกจากจะก่อเกิดแก๊สในกระเพาะที่มากเกินความจำเป็นแล้วก็ยังมีความเสี่ยงเกี่ยวกับโรคกระเพราะอักเสบมากขึ้น

3.หลักจากที่ทานอาหารเสร็จไม่ควรรีบเข้านอน

ร่างกายนั้นต้องการที่จะใช้เวลาในการย่อยอหารประมาณ 3 ชั่วโมงเพราะฉะนั้นถ้าต้องการที่จะนอนควรนอนหลังจากที่ทานอาหารมาแล้ว 3 ชั่วโมงเท่านั้นเพื่อให้ร่างกายได้ทำการย่อยอาหารอย่างเต็มที่

4.เคี้ยวอาหารให้ละเอียด

เป็นอีกหนทางหนึ่งที่จะสามารถช่วยกระเพาะอาหารในการย่อยได้ ทุกครั้งที่ทานข้าวควรเขี้ยวให้ระเอียด ไม่ควรรีบเคี้ยวรีบกลืน กินข้าวในปริมาณที่พอดีคำ เลือกทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ

5.สิ่งของที่ควรงด

งดสูบบุหรี่ ไม่ดื่มน้ำอัดลม ชา กาแฟ ในช่วงเวลาว่าง ส่วนเครื่องเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์หรือเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของโซดา  เลี่ยงได้จะดีที่สุด

6.หากิจกรรมคล้ายเครียด

บ้างท่านที่เกิดอาการ “อาหารไม่ย่อย”  แล้วไม่สามารถที่จะระบุสาเหตุดึความจริงสาตุอาจจะมาจากความเครียดส่วนบุคคลแทน เพราะฉะนั้นแล้วพยายามหาเวลาว่างเพื่อทำกิจกรรมผ่อนคลาย เช่น ออกไปเที่ยวนอกบ้าน เที่ยวธรรมชาติ ดูหนัง ฟังเพลง และสิ่งที่สำคัญเลยคือการพักผ่อนให้เพียงพอ

7.ออกกำลังกาย

อย่าลืมที่จะหันมารักษาสุขภาพร่างกายของตัวเอง เพราะสาเหตุที่อาหารไม่ย่อยนั้นไม่ได้มีแค่เรื่องของการกินเท่านั้นการที่เราอยู่ในสภาวะอ้วนลงพุงก็ถือว่าเป็นอีกสาเหตุหลักที่ทำให้ร่างกายนั้นทำงานได้ไม่เต็มที่เช่นเดียวกัน

เรื่องของสุขภาพเป็นเรื่องที่ใกล้ตัวเรามากเลยนะคะ ถ้าเรานั้นไม่ดูแลตัวของเราเองก็ไม่มีใครดูแลให้แทนได้หรอกค่ะ นอกจากจะทานอาหารที่มีประโยชน์หรือออกกำลังกายแล้ว อย่าลืมพาตัวเองออกไปสัมพัสกับธรรมชาติออกไปเที่ยวเพื่อคลายความเครียดลงด้วยนะคะ

Facebook Comments
237
SHARES
ShareTweet
Tags: กระเพาะอาหารดูแลสุขภาพท้องอืดท้องเฟ้อระบบทางเดินอาหารระบบย่อยอาหารสุขภาพสุขภาพกายอาหารอาหารไม่ย่อย
Next Post
อาบน้ำ

จำเป็นจริงๆเหรอที่เราต้อง อาบน้ำทุกวัน

168HealthyCare

© Copyright 2018-2020 168HealthyCare.com All rights reserved.

Advertise & Partners

  • รับทำ SEO
  • ประกันสุขภาพ
  • เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับบ้าน
  • โควิด19
  • Sitemap
  • Contact

Social Network

No Result
View All Result
  • หน้าแรก
  • COVID 19
  • เคล็ดลับสุขภาพดี
  • โรคและอาการของโรค
    • COVID19 โควิด19
  • อาหารและยา
  • ครอบครัว
  • ข่าวประกาศ

© Copyright 2018-2020 168HealthyCare.com All rights reserved.

Welcome Back!

Login to your account below

Forgotten Password?

Create New Account!

Fill the forms bellow to register

All fields are required. Log In

Retrieve your password

Please enter your username or email address to reset your password.

Log In