วันเสาร์, เมษายน 17, 2021
  • Login
168HealthyCare
ADVERTISEMENT
  • หน้าแรก
  • COVID 19
  • เคล็ดลับสุขภาพดี
  • โรคและอาการของโรค
    • COVID19 โควิด19
  • อาหารและยา
  • ครอบครัว
  • ข่าวประกาศ
No Result
View All Result
  • หน้าแรก
  • COVID 19
  • เคล็ดลับสุขภาพดี
  • โรคและอาการของโรค
    • COVID19 โควิด19
  • อาหารและยา
  • ครอบครัว
  • ข่าวประกาศ
No Result
View All Result
HealthNews
No Result
View All Result

ออฟฟิศซินโดรม รวมอาการเสี่ยงที่คุณเองก็อาจเป็นอยู่

ออฟฟิศซินโดรม
158
SHARES
ShareTweet

ออฟฟิศซินโดรม ( office-syndrome ) เป็นกลุ่มอาการที่ รวมไปตั้งแต่อาการ ปวดตา ปวดหลัง ปวดศีรษะ หรือแม้แต่อาการมือชา สาเหตุนั้นมักมาจากการทำงานทั้งวันในสำนักงาน ออฟฟิศ และไม่ค่อยเปลี่ยนท่าทางหรือการเคลื่อนไหวของร่างกาย เช่น การนั่งหน้าคอมพิวเตอร์นานมากเกินไป หรือทำงานในตำแหน่งเดียวซ้ำๆ อย่างต่อเนื่องเป็นเวลานาน ฯลฯ

ออฟฟิศซินโดรม

สาเหตุ โรค ออฟฟิศซินโดรม

การเกิดโรคออฟฟิคซินโดรมนั้นเกิดมาจากหลายปัจจัยด้วยกัน ไม่ได้มาจากปัจจัยเดียว และสาเหตุที่มักทำให้เกิดโรค ออฟฟิศซินโดรม มีดังนี้
1) นั่งทำงานอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานานโดยไม่ต้องขยับร่างกายหรือเปลี่ยนตำแหน่ง
2) การทำงานในตำแหน่งที่ไม่เหมาะสม เช่น การนั่งหลังค่อม นั่งในลักษณะที่ต้องเงยคอมากเกินไป
3) มีการโฟกัสบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ หน้าจอโปรเจ็กเตอร์หรือโทรศัพท์นานกว่า 1 ชั่วโมงติดต่อกัน
4) ใช้แป้นพิมพ์หรือเมาส์อย่างต่อเนื่องเป็นเวลานานโดยไม่มีการหยุดพัก
5) การนั่งทำงานไม่สบายเนื่องจากโต๊ะ เก้าอี้ หรืออุปกรณ์ในการทำงานอย่างไม่เหมาะสมกับร่างกาย
6) สภาพแวดล้อมในที่ทำงานที่ไม่เหมาะสม การทำงานในห้องที่ร้อนหรือเย็นเกินไป
7) ความเครียดที่เกิดจากการทำงาน การอดอาหาร หรือพักผ่อนมเพียงพอ

อาการของ โรค ออฟฟิศซินโดรม

เลือดไหลเวียนไม่สะดวก เหยียดนิ้วตรงไม่ได้ วูบ เอ็นกล้ามเนื้ออักเสบ ได้ยินเสียงดังในหู  รู้สึกวิงเวียนศีรษะเหมือนบ้านหมุน หมอนรองกระดูกเสื่อม กดทับเส้นประสาท ปวดเมื่อยหลัง ไหล่ คอ สะบัก บ่า แขน ข้อมือ หรือมีอาการปวดแบบเรื้อรัง ปวดตาหรือกระบอกตา ตาแห้ง ตาล้า นิ้วล็อค ปวดศีรษะเรื้อรัง เครียด หรือเป็นไมเกรน ตาพร่า แสบตา หรือระคายเคืองตา มีอาการชาบริเวณข้อมือ มือ หรือนิ้ว ซึ่งเป็นผลจากเอ็นรัดข้อมืออักเสบกดทับเส้นประสาท หายใจไม่อิ่ม หูอื้อ

วิธีป้องกัน โรค ออฟฟิศซินโดรม

1) พักสายตา ควรพักสายตาจากจอคอมพิวเตอร์ทุก ๆ 10 นาที
2) ขยับและปรับท่าทางบ่อยๆ
3) เลือกอุปกรณ์การใช่งานให้เหมาะสมกับตัวเอง
4) การปรับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ปรับหน้าจอคอมพิวเตอร์ให้อยู่ในระดับเดียวสายตาหรือพอดีกับใบหน้า
5) ออกกำลังกาย อย่างสม่ำเสมอ

การรักษา โรค ออฟฟิศซินโดรม

1) การรักษาด้วยยา
2) การปรับสภาพแวดล้อมในการทำงาน
3) การทำกายภาพบำบัดเพื่อยืดกล้ามเนื้อ
4) ออกกำลังกายเพื่อรักษาปวดหลัง
5) ปรับอิริยาบถให้ถูกต้อง
6) การรักษาด้วยศาสตร์ทางเลือกอื่น เช่น การฝังเข็ม การนวดแผนไทย

 

158
SHARES
ShareTweet
Tags: ออฟฟิศซินโดรม
Next Post
โรคหัวใจ

โรคหัวใจ อัตรายใกล้ตัวที่ต้องทำความรู้จัก

168HealthyCare

© Copyright 2018-2020 168HealthyCare.com All rights reserved.

Advertise & Partners

  • รับทำ SEO
  • เสริมหน้าอก.com
  • เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับบ้าน
  • ทำนม
  • เช็ความเร็วเน็ต
  • Contact

Social Network

No Result
View All Result
  • หน้าแรก
  • COVID 19
  • เคล็ดลับสุขภาพดี
  • โรคและอาการของโรค
    • COVID19 โควิด19
  • อาหารและยา
  • ครอบครัว
  • ข่าวประกาศ

© Copyright 2018-2020 168HealthyCare.com All rights reserved.

Welcome Back!

Login to your account below

Forgotten Password?

Create New Account!

Fill the forms bellow to register

All fields are required. Log In

Retrieve your password

Please enter your username or email address to reset your password.

Log In