วันเสาร์, เมษายน 17, 2021
  • Login
168HealthyCare
ADVERTISEMENT
  • หน้าแรก
  • COVID 19
  • เคล็ดลับสุขภาพดี
  • โรคและอาการของโรค
    • COVID19 โควิด19
  • อาหารและยา
  • ครอบครัว
  • ข่าวประกาศ
No Result
View All Result
  • หน้าแรก
  • COVID 19
  • เคล็ดลับสุขภาพดี
  • โรคและอาการของโรค
    • COVID19 โควิด19
  • อาหารและยา
  • ครอบครัว
  • ข่าวประกาศ
No Result
View All Result
HealthNews
No Result
View All Result

โรคข้อสะโพกเสื่อม ไม่แก่ก็เป็นได้

โรคข้อสะโพกเสื่อม
158
SHARES
ShareTweet

โรคข้อสะโพกเสื่อม Osteoarthritis เป็นรูปแบบของโรคไขข้อที่เกิดจากการอักเสบของกระดูกอ่อนที่ทำหน้าที่ครอบคลุมพื้นผิวของข้อต่อเสื่อมหายไปจากสาเหตุต่าง ๆ จนกระทั่งก่อให้เกิดความเจ็บปวดและการเคลื่อนไหวติดขัด หากอาการรุนแรงอาจส่งผลกระทบต่อชีวิตประจำวัน เช่น การผูกเชือกรองเท้า การแต่งตัว การเดินขึ้นลงบันไดหรือการนอนหลับโรคข้อสะโพกเสื่อม

สาเหตุของ โรคข้อสะโพกเสื่อม

1) พันธุกรรม เป็นกรณีสำหรับผู้ที่มีประวัติของคนในครอบครัวเป็นโรคข้อต่อเสื่อม มักจะมีความเสี่ยงเพิ่มขึ้นมากกว่าคนปกติ
2) การขาดเลือดไปเลี้ยงที่หัวกระดูกต้นขา
3) การบาดเจ็บบริเวณข้อสะโพก เช่น ข้อสะโพกเคลื่อนหลุดหรือแตกหัก
4) การติดเชื้อ
5) โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ หรือโรคข้ออักเสบอื่นๆที่เกี่ยวกับข้อ
6) ความผิดปกติของข้อสะโพกสำหรับคนที้มีเบ้าสะโพกตื้นกว่าปกติ เป็นต้น

อาการของโรคข้อสะโพกเสื่อม

อาการแรกของโรคข้อสะโพกเสื่อม คืออาการปวดที่ขาหนีบหรือต้นขาด้านหน้า เมื่อมีการเคลื่อนไหว ข้อต่อสะโพกจะเริ่มติดขัดเพิ่มขึ้นเมื่อทำกิจกรรม และจะดีขึ้นเมื่อเเรานั้นพักหรือหยุดเคลื่อนไหว ในกรณีที่มีอาการปวดอย่างรุนแรงจนต้องอยู่นิ่งๆ ไม่สามารถหมุนหรือยืดสะโพกได้ตามปกติ

บางครั้งอาจทำให้ขาอ่อนแรงลง เนื่องจากกล้ามเนื้อในบรริเวณที่คอยควบคุมข้อต่อสะโพกอ่อนแอ เนื่องจากมีการใช้งานที่น้อยลง เมื่อข้อต่อสะโพกอักเสบ ปุ่มกระดูกอาจโตขึ้นรอบๆข้อต่อ ถ้ากระดูกอ่อนที่รองถูกสึกกร่อนจนหายไปหมด อาจทำให้เกิดอาการปวดอย่างรุนแรงเมื่อกระดูกถูกถูเข้าด้วยกันและขาของเราก็จะสั้นลงด้วยออกกำลังากย

การรักษา โรคข้อสะโพกเสื่อม

รักษาโดยไม่ใช่วิธีการผ่าตัด เป็นวิธีการรักษาในระยะเริิ่มต้นของผู้ป่วยที่ยังไม่มีอาการรุนแรงมาก  วิธีนี้สามารถช่วยชะลอความรุนของโรค และยังสามารถช่วยลดอาการปวดได้เช่นกัน

1) เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตประจำวัน โดยการ นอนหลับให้เพียงพอ ใช้สะโพกอย่างถูกวิธีว่ายน้ำ ขี่จักรยาน แอโรบิกในน้ำ  หรือการออกกำลังกายเบาๆ อย่างสม่ำเสมอ
2) ควบคุมน้ำหนักให้ได้มาตรฐาน เพื่อลดแรงกดบนข้อ
3) รับประทานยาต้านการอักเสบและยาแก้ปวดที่ไม่ใช่สเตียรอยด์
4) กายภาพบำบัด เพื่อเสริมสร้างกล้ามเนื้อบริเวณข้อต่อสะโพกและลดและลดข้อติดแข็ง
5) ใช้ไม้เท้าที่อยู่ฝั่งตรงข้ามของสะโพกที่เสื่อมสภาพ หรือเครื่องช่วยเดินอื่น ๆ เพื่อช่วยในการเคลื่อนย้ายน้ำหนักจากข้อต่อสะโพกจะทำให้การเดินดีขึ้น

รักษาด้วยการผ่าตัด

การส่องกล้อง เป็นวิธีที่ใช้ในกรณีที่กระดูกอ่อนในข้อสะโพกฉีกขาดหรือไม่ก็กรณีที่มีเศษกระดูกหลุดมาอยู่บริเวณข้อ จนเกิดการเสียดสี ทำให้เคลื่อนไหวได้ลำบาก

การผ่าตัดเปลี่ยนแนวกระดูก เป็นการผ่าตัดเพื่อหมุนพื้นผิวของข้อต่อที่ยังคงสภาพปกติเข้ามาติดกัน และจะใช้เมื่อมีบริเวณหนึ่งได้รับความเสียหาย แต่บริเวณอื่น ๆนั้นยังคงสภาพปกติอยู่

การผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมใช้เฉพาะในผู้ป่วยที่ข้อสะโพกนั้นผิดรูป หรือมีอาการปวดที่รุนแรงกว่าปกติ ถึขั้นที่เป็นปัญหาในการใช่ชีวิตประจำวัน

158
SHARES
ShareTweet
Tags: โรคข้อสะโพกเสื่อม
Next Post
ปวดเข่า

โรคข้อเข่าเสื่อม ที่ผู้สูงอายุควรระวัง

168HealthyCare

© Copyright 2018-2020 168HealthyCare.com All rights reserved.

Advertise & Partners

  • รับทำ SEO
  • เสริมหน้าอก.com
  • เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับบ้าน
  • ทำนม
  • เช็ความเร็วเน็ต
  • Contact

Social Network

No Result
View All Result
  • หน้าแรก
  • COVID 19
  • เคล็ดลับสุขภาพดี
  • โรคและอาการของโรค
    • COVID19 โควิด19
  • อาหารและยา
  • ครอบครัว
  • ข่าวประกาศ

© Copyright 2018-2020 168HealthyCare.com All rights reserved.

Welcome Back!

Login to your account below

Forgotten Password?

Create New Account!

Fill the forms bellow to register

All fields are required. Log In

Retrieve your password

Please enter your username or email address to reset your password.

Log In