วันพุธ, ธันวาคม 6, 2023
  • Login
168HealthyCare
ADVERTISEMENT
  • หน้าแรก
  • COVID 19
  • เคล็ดลับสุขภาพดี
  • โรคและอาการของโรค
    • COVID19 โควิด19
  • อาหารและยา
  • ครอบครัว
  • ข่าวประกาศ
No Result
View All Result
  • หน้าแรก
  • COVID 19
  • เคล็ดลับสุขภาพดี
  • โรคและอาการของโรค
    • COVID19 โควิด19
  • อาหารและยา
  • ครอบครัว
  • ข่าวประกาศ
No Result
View All Result
HealthNews
No Result
View All Result

อันตรายจาก ฟอร์มาลีน ที่ปนเปื้อนในอาหาร

อันตรายจาก ฟอร์มาลีน ที่ปนเปื้อนในอาหาร
รักษาหลุมสิว
237
SHARES
ShareTweet

สารบัญเนื้อหา

จะมีใครบ้างไมคะที่ไม่รู้จัก ฟอร์มาลีน เพราะหลายๆคนคงจะเคยได้ยินเรื่องเกี่ยวกับ

การตรวจพบ “ฟอร์มาลีน” ในอาหารทะเลมาบ้างเพราะต้องการที่จะรักษาความสดของอาหารเอาไว้ให้ได้นานมากกว่าเดิม และเรื่องที่เซอร์ไพรไปกว่านั้นก็ยังมีการสุ่มตรวจเจออยู่อย่างเรื่อยๆ เราในฐานะที่เป็นผู้ยริโภค พอได้ยินข่าวแบบนี้ก็ควรที่จะมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องนี้ซะบ้าง เพื่อที่จะด้ลดอัตราการเสี่ยงต่อการบริโภคอาหารทะเลที่มี ฟอร์มาลีนปลาหมึก

อันตรายจากฟอร์มาลีนที่ปนเปื้อนในอาหาร

  • เพลีย
  • คอแข็ง
  • ปวดท้อง
  • หัวใจเต้นเร็ว
  • แน่นหน้าอก
  • คลื่นไส้ อาเจียน
  • เหงื่อออก ตัวเย็น
  • อาจมีการถ่ายท้อง
  • ปากและคอจะแห้ง
  • ปวดศีรษะอย่างรุนแรง
  • ปัสสาวะไม่ออกหรือปัสสาวะเป็นเลือด

***อาการเหล่านี้จะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อได้รับประทานอาหารที่มีการปนเปื้อนของฟอร์มาลินในปริมาณที่มากพอถึงจะสามารถก่อให้เกิดอาการผิดปกติเหล่านี้ได้

อาหารที่พบการปนเปื้อนฟอร์มาลีน ส่วนมากแล้วเราอาจจะพบได้ในอาหารทะเลสดทั่วไป แต่ที่ตรวจพบเจอมากที่สุดมักจะเจออยู่ที่ปลาหมึก และแมงกะพรุน รวมไปถึงอาหารทะเลประเภทอื่นๆ อีกเช่นกัน ไม่ว่าจะเป็น ปลาหมึกกรอบ สไบนาง และเล็บมือนาง เป็นต้น

วิธีเลือกซื้อ-รับประทานอาหารทะเลให้ปลอดภัยจากฟอร์มาลีน

วิธีง่ายๆเลยก็คือการดมกลิ่นหากว่าอาหารที่เราดมนั้นมีกลิ่นฉุนแสบจมูก ให้สงสัยไว้ก่อนเลยว่าอาจจุมีฟอร์มาลินอยู่ และก่อนการทำอาหารก็อย่าลืมที่จะล้างอาหารให้สะอาดทุกครั้ง เพราะฟอร์มาลินส่วนมากสามารถชะล้างออกไปหมดเพียงการล้างน้ำปล่า เนื่องจากเป็นคุณสมบัติละลายน้ำได้ดีเยี่ยม และควรที่จะปรุงอาหารให้สุกก่อนบริโภคทุกครั้ง

 ฟอร์มาลีน คืออะไร ?

ฟอร์มาลิน คือสารมีพิษที่นำมาใช้ในอุตสาหกรรมผลิตเคมีภัณฑ์ เช่น พลาสติก  สิ่งทอ และสามารถนำมาใช้เป็นยาฆ่าเชื้อโรคและเชื้อราได้อีกด้วย ส่วนกรณีนี้เป็นการนำมาใช้ในทางที่ผิด เพื่อทำให้คงความสดอยู่ได้นาน ไม่เน่าเสียง่าย นั้นเอง

 

 

237
SHARES
ShareTweet
Tags: ฟอร์มาลีน (formalin)
Next Post
แอ่งน้ำ

ช่วงฝนตกเตรียมตัวระวัง 5 โรคนี้ไว้ให้ดีๆ

168HealthyCare

© Copyright 2018-2020 168HealthyCare.com All rights reserved.

Advertise & Partners

  • รับทำ SEO
  • ทำนม
  • โรคมะเร็ง
  • ติดต่อเรา

Social Network

No Result
View All Result
  • หน้าแรก
  • COVID 19
  • เคล็ดลับสุขภาพดี
  • โรคและอาการของโรค
    • COVID19 โควิด19
  • อาหารและยา
  • ครอบครัว
  • ข่าวประกาศ

© Copyright 2018-2020 168HealthyCare.com All rights reserved.

Welcome Back!

Login to your account below

Forgotten Password?

Create New Account!

Fill the forms bellow to register

All fields are required. Log In

Retrieve your password

Please enter your username or email address to reset your password.

Log In