วันเสาร์, มกราคม 23, 2021
  • Login
168HealthyCare
ADVERTISEMENT
  • หน้าแรก
  • COVID 19
  • เคล็ดลับสุขภาพดี
  • โรคและอาการของโรค
    • COVID19 โควิด19
  • อาหารและยา
  • ครอบครัว
  • ข่าวประกาศ
No Result
View All Result
  • หน้าแรก
  • COVID 19
  • เคล็ดลับสุขภาพดี
  • โรคและอาการของโรค
    • COVID19 โควิด19
  • อาหารและยา
  • ครอบครัว
  • ข่าวประกาศ
No Result
View All Result
HealthNews
No Result
View All Result

“ฟันสึก-กร่อน”ต้องรีบรักษาก่อนที่จะเสี่ยง “ฟันตาย”

“ฟันสึก-กร่อน”ต้องรีบรักษาก่อนที่จะเสี่ยง “ฟันตาย”
158
SHARES
ShareTweet

ใครที่ชอบ นอนกัดฟันจนเป็นนิสัยชอบเคี้ยวของแข็ง นั้นมีสิทธิ์ที่จะทำให้เกิดการสึก กร่อนของฟันหากว่าปล่อยนานวันเข้า ไม่ยอมไปรักษาจนความเสียหายนั้นลึกจนชั้นโพรงประสาทฟัน มีเสียวฟัน อาการปวด จนทำให้ฟันตาย และหนทางเดียวอาจต้องถอนฟันในที่สุด

ปวดฟัน

1.สัญญาณอันตราย ฟันสึกกร่อน

หากพบอาการเตือนเบื้องต้น อย่างเช่น ภาวะเสียวฟัน ดูจากภายนอกแล้วมีอาการสึกกร่อนของฟัน ผิวเคลือบฟันได้ถูกทำลายถึงชั้นเนื้อฟัน กรณีนี้หากว่าคุณนั้นยังไม่ได้เข้ารักษาฟันอย่างถูกวิธี โดยการครอบฟันหรืออุดฟัน ฟันมีแนวโน้มที่จะฟันผุถึงชั้นโพรงประสาทของฟัน

และแบคทีเรียสามารถแพร่กระจายเพื่อไปทำลายเส้นประสาทในฟัน ส่งผลให้เส้นประสาทอักเสบ จนมีอาการปวดฟันในภายหลังดังนั้นในกรณีที่คุณเริ่มมีอาการเสียวฟันหรือสงสัยว่าคุณมีปัจจัยเสี่ยงต่อการสึกกร่อนของฟันด้านใดด้านหนึ่งควรได้รับการรักษาโดยทันตแพทย์เพื่อยืนยันและป้องกันก่อนมีอาการดังกล่าว

2.วิธีหลีกเลี่ยงอาการฟันสึกกร่อน

1.อย่าลืมเข้าไปตรวจสุขภาพฟันกับทันตแพทย์ทุกๆ 6 เดือน

2.การที่เราแปรงฟันอย่างถูกวิธี ก็สามารถที่จะหลีกเลี่ยงการเกิดฟันสึก กร่อนได้เช่นกัน และอย่าเลือกใช้ยาสีฟันที่ผงขัดแบบหยาบเป็นส่วนผสม

3.หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารแข็งเกินไป และอาหารที่มีรสเปรี้ยวเป็นส่วนผสม

4.คุณรู้หรือไม่ว่าเครื่องดื่มรสเปรี้ยว เช่น น้ำเสาวรสและน้ำมะนาว หรือเครื่องดื่มบางประเภทโดยเฉพาะน้ำอัดลมที่เราชอบดื่ม เป็นสาเหตุที่ทำให้ฟันนั้นกร่อน หากเราชอบดื่มควรเปลี่ยนพฤติกรรมโดยลดความถี่ในการดื่มให้น้อยลงหรือดื่มน้ำมาก ๆ เพื่อลดความเป็นกรดที่สามารถกัดกร่อนเคลือบฟันและฟัน

3.สาเหตุของฟันสึกกร่อน

ฟันสึก คืออาการที่ผิวฟันกร่อนหลุดไปทีละน้อย สังเกตุไม่ค่อยเห็น แต่สิ่งที่ทำให้ฟันสึกมักเกิดจากการคี้ยว ไม่ว่าจะเป็น น้ำแข็ง กระดูกไก่ ผลไม้ที่มีเปลือกแข็ง กระดูกหมู ถั่ว เป็นต้น หรือไม่ก็เป็นคนที่ชอบทานอาหารที่มีความเป็นกรดสูงอยู่ตลอด เช่น ของดองต่างๆ มะม่วง มะขาม หรืออาจเกิดจากการนอนกัดฟันจัวเองจนเป็นนิสัย

ซึ่งมีผลต่อการบดเคี้ยวรูปร่างของฟันและใบหน้า ซึ่งควรตรวจสุขภาพช่องปากและฟันเป็นประจำและพบทันตแพทย์เป็นประจำทุก 6 เดือน การอาเจียนบ่อยๆ ก็เป็นอีกหนึ่งสาเหตุที่ทำให้เกิดการสึกกร่อนของฟันด้วยเช่นกัน

ตอนนี้ยังดีที่เรายังหนุ่มยังสาวกันอยู่ สุขภาพฟันจึงแข็งแรงเป็นเรื่องธรรมดา แต่ถ้าหากว่าเรานั้นมีอายุที่มากขึ้นเรื่องฟันก็ยิ่งสำคัญ เพราะฉะนั่นหันมาดูแลสุขภาพช่องปากตั้งแต่ตอนนี้กันดีกว่าค่ะ

 

 

 

Facebook Comments
158
SHARES
ShareTweet
Tags: ความเสี่ยงดูแลสุขภาพดูแลสุขภาพฟันตรวจสุขภาพฟันปวดฟันฟันกร่อนฟันผุฟันสึกฟันสึกกร่อนรู้ทันโรคสุขภาพสุขภาพฟันอันตราย
Next Post
เผย 3 วิธีรักษา “มะเร็ง” แบบตรงจุดจากทีมแพทย์สหรัฐฯ

เผย 3 วิธีรักษา "มะเร็ง" แบบตรงจุดจากทีมแพทย์สหรัฐฯ

168HealthyCare

© Copyright 2018-2020 168HealthyCare.com All rights reserved.

Advertise & Partners

  • รับทำ SEO
  • ประกันสุขภาพ
  • เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับบ้าน
  • โควิด19
  • Sitemap
  • Contact

Social Network

No Result
View All Result
  • หน้าแรก
  • COVID 19
  • เคล็ดลับสุขภาพดี
  • โรคและอาการของโรค
    • COVID19 โควิด19
  • อาหารและยา
  • ครอบครัว
  • ข่าวประกาศ

© Copyright 2018-2020 168HealthyCare.com All rights reserved.

Welcome Back!

Login to your account below

Forgotten Password?

Create New Account!

Fill the forms bellow to register

All fields are required. Log In

Retrieve your password

Please enter your username or email address to reset your password.

Log In