โรคเครียดลงกระเพาะ ( Irritable bowel syndrome ) ไม่ว่าจะเป็นความเครียดของที่ทำงาน หรือว่าความเครียดจากการเรียน รวมไปจนถึงสาเหตุอื่นๆอีกมากมายที่ทำให้รานั้นเครียด ซึ่งความเครียดที่มากเกินไปเหล่านี้ อาจส่งผลเสียต่อร่างกายของเราได้ ที่สำคัญความเครียดเหล่านี้นั้นอาจส่งผลทำเกิดการเต้นของหัวใจผิดปกติ, หายใจถี่, กล้ามเนื้อกระตุกเกร็ง, ปากแห้ง และสามารถส่งผลไปถึงการทำงานของกระเพาะอาหารและลำไส้ บ้างคนนั้นอาจพบกับอาการคลื่นไส้อาเจียน หรือที่เราเรียกว่าเครียดลงกระเพาะอาหาร นั้นเอง
เครียดลงกระเพาะ อาหาร
มันมาจาก “ความเครียดสะสม” ที่มีมากเกินไปจนทำให้ระบบประสาทอัตโนมัติเข้าไปกระตุ้นต่อมหมวกไตเพื่อหลั่งอะดรีนาลีนในระดับที่มากขึ้น สาเหตุนั้นก็มาจากความเครียด ส่งผลให้ร่างกายตื่นตัวและยังเป็นการกระตุ้นให้กระเพาะอาหารปล่อยน้ำย่อยในจำนวนที่มากผิดปกติ จนกระเพาะอาหารได้รับการระคายเคืองและทำให้ลำไส้หดตัวมากกว่าปกติอีกด้วยซึ่งอาการที่เล่าไปทั้งหมดนี้จะสร้างความเจ็บปวดให้กับผู้ป่วยอย่างมากถึงมากที่สุด
เครียดลงกระเพาะเป็นยังไง
1) คลื่นไส้และอาเจียน รู้สึกว่าจุกเสียดที่หน้าอกหลังจากรับประทานอาหาร
2) รู้สึดได้ถึงการปวดในบริเวณลิ้นปี่ มักมีอาการในช่วงท้องว่าง ความเจ็บปวดจะบรรเทาลงหรือหายไป เมื่อทานอาหารเข้าไป
3) หลังรับประทานอาหารหลัง 2-3 ชั่วโมงจะมีอาการปวดหลัง ซึ่งเป็นเวลาที่กระเพาะอาหารเริ่มทำหน้าที่ย่อยอาหาร
4) รู้สึกท้องอืด ท้องเฟ้อ แน่นอน ก๊าซในกระเพาะเยอะเกินไป ซึ่งเกิดจากกระบวนการย่อยในกระเพาะอาหารที่แปรปรวนตั้งต่ารรีบไปทานอาหาร การกลืนอาหารเร็วเกินไป หรือดื่มน้ำปริมาณมากขณะรับประทาน
5) อาการปวดท้อง และอาการจะบรรเทาลงหรือหายไปเมื่อถ่ายอุจจาระ
6) น้อยกว่า 3 ครั้งต่อสัปดาห์หรือถ่ายอุจจาระมากกว่า 3 ครั้งต่อวัน
7) ต้องเบ่งถ่าย กลั้นไม่อยู่ หรือรู้สึกว่าถ่ายไม่สุด
8) หากคุณมีอาการปวดท้องอย่างรุนแรงจนถึงขั้นหายใจลำบาก ก็จะมีอาการท้องร่วง ท้องเสีย อาเจียนหรือถ่ายเป็นเลือดและมีสีดำเสมอ ถือว่าเป็นอันตรายหากต้องไปพบแพทย์ทันทีเพื่อรับการรักษา เพราะถ้ามันช้าเกินไป อาจทำให้กระเพาะอาหารทะลุหรือมีเลือดออกในทางเดินอาหาร
เครียดลงกระเพาะ รักษา ยังไง
1) ทานอาหารให้ตรงเวลาและครบ 3 มื้อ
2) ออกกำลังกาย เพื่อเพิ่มความสมดุลขอลร่างกาย ตามที่แพทย์แนะนำ
3) เลิกสูบบุหรี่ และงดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทั้งหมด
4) หยุดกินยาแอสไพริน ยาแก้ปวด และยาแก้อักเสบ
5) หากิจกรรมคลายเครียด เพื่อระบายความเครียดออกมาบ้าง
6) หากมีความเครียดที่เกิดจากการหมกมุ่นอยู่กับเหตุการณ์ในอดีต หรือเอาแต่คิดถึงเหตุการณ์ในอนาคตที่ยังมาไม่ถึง